นำ symbol มาใช้เพื่อการสื่อสารที่ไม่สับซ้อนและได้รับรู้อย่างเป็นสากล ว่ารูปที่นำมาใช้เป็นรูปอะไรเมื่อถูกลดท้อนความละเอียดลง
นำสีส้มและสีฟ้ามาให้ในงาน
วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2550
sequence กับการแปรอักษร V
ตัวงานเป็นหนังสือ 36 เล่มขนาด 16*18 นิ้ว ใน 1 เล่มมี 10 หน้า ใน 1 หน้าถูกแบ่งอีก 4*6 ช่อง ตัวงานใช้ 2 สี คือ สีส้มและสีฟ้า
กราฟิคที่นำมาใช้ เป็นวงรี เพราะ เรียบง่ายและเป็นกลาง ถ้าใช้รูปอื่นที่มีความเข้าใจอยู่แล้วจะทำให้คนอื่น งง เช่น รูปหัวใจ ถ้าใน 1 เล่มมีรูปหัวใจเล็กแล้วยังมองไม่ออกพอนำมารวมกันหลายๆเล่มที่ถูกกำหนดไว้จะกลายเป็นรูปหัวใจรูปใหญ่ แต่พอเราเปลี่ยนหน้าให้กลายเป็นรูปบ้านกราฟิครูปหัวใจเล็กๆเหล่านั้นก็จะกลายเป็นรูปบ้าน แต่ก็เกิดคำถามขึ้นว่าทำไมต้องเป็นรูปหัวใจแล้วกลายเป็นรูปบ้าน รูปหลอดไฟ รูปหัวกระโหลกและอื่นๆ
หนังสือ 1 เล่มจะมี 10 หน้าและในแต่ละเล่มจะถูกกำหนดไว้แล้วว่าต้องอยู่ในตำแหน่งไหนถึงจะได้รูปที่เรากำหนด
กราฟิคที่นำมาใช้ เป็นวงรี เพราะ เรียบง่ายและเป็นกลาง ถ้าใช้รูปอื่นที่มีความเข้าใจอยู่แล้วจะทำให้คนอื่น งง เช่น รูปหัวใจ ถ้าใน 1 เล่มมีรูปหัวใจเล็กแล้วยังมองไม่ออกพอนำมารวมกันหลายๆเล่มที่ถูกกำหนดไว้จะกลายเป็นรูปหัวใจรูปใหญ่ แต่พอเราเปลี่ยนหน้าให้กลายเป็นรูปบ้านกราฟิครูปหัวใจเล็กๆเหล่านั้นก็จะกลายเป็นรูปบ้าน แต่ก็เกิดคำถามขึ้นว่าทำไมต้องเป็นรูปหัวใจแล้วกลายเป็นรูปบ้าน รูปหลอดไฟ รูปหัวกระโหลกและอื่นๆ
หนังสือ 1 เล่มจะมี 10 หน้าและในแต่ละเล่มจะถูกกำหนดไว้แล้วว่าต้องอยู่ในตำแหน่งไหนถึงจะได้รูปที่เรากำหนด
sequence กับการแปรอักษร IV
วันจันทร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2550
sequence กับการแปรอักษร I I I
จากที่ได้เสนอมานำมาทดลองสร้างงานภาพเคลื่อนไหว 2 มิติเป็นงานสเก็ต การแปรอักษรอยู่บนสแตรน ภาพแรกเห็นเด็กหนึ่งคนนั่งจัดสมุดสีอยู่ พอกล้องซูมออกก็เห็นเด็กจำนวนหนึ่งนั่งจับเพลทที่เรียงสมุดสีเสร็จแล้ว จากนั้นไม่นานเด็กๆก็หมุนเพลทอีกด้านแต่ก็ดูไม่ออกว่าคืออะไร ต้องซูมออกมาอีกเลยเห็นเป็นจุดสีเหมือนจะเป็นรูปแต่ยังไม่ชัด เลยซูมออกมาเรื่อยๆจนเริ่มเห็นเป็นภาพมากขึ้นจากหนึ่งสแตรนมารวมกับสองสแตรนออกมาจนเห็นครบสามสแตรนภาพที่เห็นก็ชัดเจนด้วยระยะห่างและการบอกเล่าของภาพที่ค่อยๆเป็นไป
อันนี้เป็นการปลูกต้นไม้จากต้นเล็กๆหนึ่งต้นเป็นสอง สาม สี่ ตั้งแต่ต้นอ่อน ค่อยๆโตขึ้นแตกกิ่งใบ ออกดอกออกผล เป็นต้นไม้ใหญ่ เมื่ออยู่ไกลออกมาเราก็จะเห็นต้นไม้ใหญ่เหล่านั้นเล็กมากจนเห็นแค่สีเขียวๆ พอเราเห็นภาพจากดาวเทียมเราก็เห็นพื้นดินทั้งหมดเป็นสีเขียวกับพื้นน้ำสีฟ้า
ทั้งสองอันเป็น seq ที่เกิดหรือเริ่มจากสิ่งเล็กๆจนมันมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นจนกลายเป็น seq ที่ใหญ่ติดตามต่อในข้อความหน้านะครับ
อันนี้เป็นการปลูกต้นไม้จากต้นเล็กๆหนึ่งต้นเป็นสอง สาม สี่ ตั้งแต่ต้นอ่อน ค่อยๆโตขึ้นแตกกิ่งใบ ออกดอกออกผล เป็นต้นไม้ใหญ่ เมื่ออยู่ไกลออกมาเราก็จะเห็นต้นไม้ใหญ่เหล่านั้นเล็กมากจนเห็นแค่สีเขียวๆ พอเราเห็นภาพจากดาวเทียมเราก็เห็นพื้นดินทั้งหมดเป็นสีเขียวกับพื้นน้ำสีฟ้า
ทั้งสองอันเป็น seq ที่เกิดหรือเริ่มจากสิ่งเล็กๆจนมันมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นจนกลายเป็น seq ที่ใหญ่ติดตามต่อในข้อความหน้านะครับ
วันพุธที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2550
sequence กับการแปรอักษร I I
ต่อจากบทความที่ผ่านมาที่ได้เอาเรื่องแปรอักษรมา เริ่มจากการคิดงานใน seq การขึ้นอาคารเรียนแล้วผมก็พยายามนึกว่าจะมีอะไรไมที่เราเห็นตอนจบแล้วรู้เรื่องโดยไม่ต้องรับรู้ว่าที่ผ่านมามันเป็นไง เหมือน seq ของการขึ้นลิฟแล้วก็มีเรื่องแปรอักษรเข้ามาในหัว ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ได้ไมก็เลยลองหาข้อมูลก่อน เลยลองเปรียบเทียบระหว่างเรื่องเดิม คือเรื่องย่อ กับเรื่องใหม่ คือเรื่องตอนแปรอักษรเสร็จ เพราะ seq ทั้งสองเป็นการเห็นตอนจบหรือรับรู้จากการสรุป ถ้างงต้องกลับไปอ่านบทความที่ผ่านๆมา
seq อาจไม่สำคัญระหว่างทางก็ได้ ถ้าเราเห็นตอนจบแล้วเข้าใจได้เลย แสดงว่าเรารับรู้ได้แต่ไม่อาจเข้าใจและเข้าถึง
เห็นภาพตอนแปรเสร็จ
- ไม่ได้รับบรรยากาศในการแปรอักษร
- ไม่ได้รู้ที่มาที่ไปของภาพที่ออกมาว่าก่อนหน้านี้เป็นไง
- ขาดจินตนาการในการชม
- หมดเสน่ห์ของการแปรอักษร
*ถ้าเราเห็นภาพตอนจบแล้วเราไม่ได้รับรู้ถึงบรรยากาศของการแปรอักษร จะต่างอะไรกับการดูภาพแตกๆ
อ่านเรื่องย่อจบ
- ไม่ได้รับรู้ถึงบรรยากาศของเนื้อเรื่อง
- ไม่มีอารมณ์ร่วมไปกับเรื่อง
- ไม่ได้จินตนาการไปกับเรื่อง
*การอ่านเรื่องย่อทำให้เราเข้าใจเรื่องแต่ไม่ได้รับรู้ถึงอารมณ์หรือบรรยากาศที่เรื่องนั้นจะพาเราไป
แกนของการแปรอักษรจุดเล็กๆรวมตัวเป็นภาพใหญ่
ลักษณะเด่นของการแบบอักษรต้องคอยรอดูว่าภาพต่อไปจะเป็นภาพอะไร ความต่อเนื่องของการแปร และระยะห่างจากคนที่แปรกับคนที่ดูต้องมีความห่างพอสมควร ถึงจะเห็นภาพนั้นได้อย่างชัดเจน
seq อาจไม่สำคัญระหว่างทางก็ได้ ถ้าเราเห็นตอนจบแล้วเข้าใจได้เลย แสดงว่าเรารับรู้ได้แต่ไม่อาจเข้าใจและเข้าถึง
เห็นภาพตอนแปรเสร็จ
- ไม่ได้รับบรรยากาศในการแปรอักษร
- ไม่ได้รู้ที่มาที่ไปของภาพที่ออกมาว่าก่อนหน้านี้เป็นไง
- ขาดจินตนาการในการชม
- หมดเสน่ห์ของการแปรอักษร
*ถ้าเราเห็นภาพตอนจบแล้วเราไม่ได้รับรู้ถึงบรรยากาศของการแปรอักษร จะต่างอะไรกับการดูภาพแตกๆ
อ่านเรื่องย่อจบ
- ไม่ได้รับรู้ถึงบรรยากาศของเนื้อเรื่อง
- ไม่มีอารมณ์ร่วมไปกับเรื่อง
- ไม่ได้จินตนาการไปกับเรื่อง
*การอ่านเรื่องย่อทำให้เราเข้าใจเรื่องแต่ไม่ได้รับรู้ถึงอารมณ์หรือบรรยากาศที่เรื่องนั้นจะพาเราไป
แกนของการแปรอักษรจุดเล็กๆรวมตัวเป็นภาพใหญ่
ลักษณะเด่นของการแบบอักษรต้องคอยรอดูว่าภาพต่อไปจะเป็นภาพอะไร ความต่อเนื่องของการแปร และระยะห่างจากคนที่แปรกับคนที่ดูต้องมีความห่างพอสมควร ถึงจะเห็นภาพนั้นได้อย่างชัดเจน
sequence กับการแปรอักษร I
จากที่ได้ข้อมูลเลยลองหาแกนของ sequence กับการแปรอักษร เพราะทุกอย่างในโลกนี้มี sequence ทุกคนรู้
ผมนำโค้ด 1:16 มาวิเคราะห์ เพราะมีความน่าสนใจและซับซ้อนที่สุดในโค้ดต่างๆ
เริ่มแรกจากเล็กไปหาใหญ่ คือ สมุดสี ในหนึ่งเล่มมี 30 สี และในหนึ่งเพลทมี 2 หน้า หน้าละ 16 เล่ม ดูลักษณะเพลทได้จากบทความที่ผ่านมา และในหนึ่งสแตนจะมีหลายเพลทเพื่อให้ภาพที่แปรมีความละเอียด เหมือนการรวมจุดสีถ้าดูใกล้ๆจะดูไม่รู้เรื่อง ต้องดูไกล
โครงสร้าง sequence ของการแปรอักษร
สรุป
- ในหนึ่งเพลทจะมีสมุดสีหลายเล่ม เมื่อมารวมกันเป็น seq ใหม่
- ในหนึ่งภาพ บนสแตนจะมีหลายเพลทจึงทำให้เกิดรูปได้เป็นการไล่โทนสี ทำให้ seq นั้นชัดเจนขึ้น
- เป็น seq ที่เหมือนการบวกเลข จากจุดเล็กๆให้เป็นภาพใหญ่ คล้ายต้องเดินจาก 1 2 3 4 ไปให้จบก่อนแล้วต้องดูเฉลยที่ตอนจบถึงจะรู้เรื่องว่าเป็นอะไร งง ปะครับ
- งั้น seq นี้ในความคิดผมนะ ระหว่างทางอาจไม่สำคัญแต่ต้องมีเพราะเราก็จะเข้าใจรูปตอนจบได้ แต่จะไม่รู้ว่ามาไง เหมือนสามารถรับรู้ได้แต่จะไม่เข้าใจและเข้าถึง
คิดไปคิดมามันก็พอจะใกล้ๆหรือมีประโยชน์บางกับประเด็นการขึ้นอาคารเรียน ถึงแม้ที่คิดมามันอาจจะไม่ใช่แกนเดียวกันก็ตาม ติดตามต่อบทความหน้าครับ
ผมนำโค้ด 1:16 มาวิเคราะห์ เพราะมีความน่าสนใจและซับซ้อนที่สุดในโค้ดต่างๆ
เริ่มแรกจากเล็กไปหาใหญ่ คือ สมุดสี ในหนึ่งเล่มมี 30 สี และในหนึ่งเพลทมี 2 หน้า หน้าละ 16 เล่ม ดูลักษณะเพลทได้จากบทความที่ผ่านมา และในหนึ่งสแตนจะมีหลายเพลทเพื่อให้ภาพที่แปรมีความละเอียด เหมือนการรวมจุดสีถ้าดูใกล้ๆจะดูไม่รู้เรื่อง ต้องดูไกล
โครงสร้าง sequence ของการแปรอักษร
สรุป
- ในหนึ่งเพลทจะมีสมุดสีหลายเล่ม เมื่อมารวมกันเป็น seq ใหม่
- ในหนึ่งภาพ บนสแตนจะมีหลายเพลทจึงทำให้เกิดรูปได้เป็นการไล่โทนสี ทำให้ seq นั้นชัดเจนขึ้น
- เป็น seq ที่เหมือนการบวกเลข จากจุดเล็กๆให้เป็นภาพใหญ่ คล้ายต้องเดินจาก 1 2 3 4 ไปให้จบก่อนแล้วต้องดูเฉลยที่ตอนจบถึงจะรู้เรื่องว่าเป็นอะไร งง ปะครับ
- งั้น seq นี้ในความคิดผมนะ ระหว่างทางอาจไม่สำคัญแต่ต้องมีเพราะเราก็จะเข้าใจรูปตอนจบได้ แต่จะไม่รู้ว่ามาไง เหมือนสามารถรับรู้ได้แต่จะไม่เข้าใจและเข้าถึง
คิดไปคิดมามันก็พอจะใกล้ๆหรือมีประโยชน์บางกับประเด็นการขึ้นอาคารเรียน ถึงแม้ที่คิดมามันอาจจะไม่ใช่แกนเดียวกันก็ตาม ติดตามต่อบทความหน้าครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)